rn

 

rn

วิธีการเบิกจ่ายเงินสวัสดิการพนักงานสำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 

rn

rn

1.ผู้มีสิทธิ 

rn

– เจ้าของสิทธิ (พนักงานสำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร)

rn

2.บุคคลในครอบครัว(ชอบด้วยกฎหมาย)

rn

– บิดา (ตามสายเลือด)

rn

– มารดา (ตามสายเลือด) 

rn

– คู่สมรส 

rn

– บุตร (3 คน)

rn

บุคคลในครอบครัวที่นี้ต้องมีหลักฐานการประกอบเป็นบุคคลในครอบครัว ดังนี้ 

rn

–   มารดาต้องใช้หลักฐานทางราชการ ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในที่นี้ มีดังนี้ 

rn

    rn

  1. สูติบัตร (ของพนักงานที่มีชื่อมารดา) 
  2. rn

    rn

  1. ทะเบียนบ้าน (ของพนักงาน)  
  2. rn

rn

บิดาต้องใช้หลักฐานทางราชการ ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่งในที่นี้ มีดังนี้ 

rn

    rn

  1. ทะเบียนสมรส (บิดา – มารดา)
  2. rn

    rn

  1. ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) ขอได้ที่อำเภอตามทะเบียนบ้าน 
  2. rn

    rn

  1. คำสั่งศาลเยาวชนและครอบครัว (ศาลสั่งให้เป็นบุตร) 
  2. rn

rn

–  คู่สมรสต้องใช้หลักฐานทางราชการดังนี้ 

rn

    rn

  1. ทะเบียนสมรสไทย 
  2. rn

    rn

  1. ทะเบียนสมรสต่างประเทศ (ถ้าจดที่ต่างประเทศ) 
  2. rn

rn

–   บุตรของพนักงาน ถ้าเป็นพนักงานหญิงใช้หลักฐานในการเบิกให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ 

rn

    rn

  1. สูติบัตร (บุตรพนักงาน) 
  2. rn

    rn

  1. ทะเบียนบ้าน (บุตรพนักงาน) 
  2. rn

rn

บุตรของพนักงาน ถ้าเป็นพนักงานชายใช้หลักฐานในการเบิก ดังนี้

rn

(ข้อ 2 – 4 ให้เลือกอย่างใดอย่างหนึ่ง)

rn

1.  สูติบัตร 

rn

2.  ทะเบียนสมรส (ผู้มีสิทธิกับคู่สมรส)

rn

3.  ทะเบียนรับรองบุตร (คร.11) ขอได้ที่อำเภอตามทะเบียนบ้าน 

rn

4.  คำสั่งศาลเยาวชนและครอบครัว (ศาลสั่งให้เป็นบุตร) 

rn

**เงื่อนไขของบุตรชอบด้วยกฎหมาย

rn

1.ถ้าเป็นพนักงานทั้งฝ่ายหญิงและชายให้เลือกใช้สิทธิใดสิทธิหนึ่งเท่านั้น 

rn

2.ในการเบิกให้บุตรได้ในที่นี้ต้องเป็นบุตรลำดับ 1 – 3 และจะเบิกได้จนบรรลุนิติภาวะ (ครบ 20 ปี บริบูรณ์) หรือ บุตรผู้เบิกได้มีการจดทะเบียนสมรสก็จะทำให้หมดสิทธิในการเบิก

rn

3.การเรียงลำดับบุตรให้เรียงลำดับจากการเกิด (ข้ามกระโดดไม่ได้)

rn

4.การแทนที่บุตรในการเบิกแทนที่ได้เฉพาะบุตรเสียชีวิตก่อนบรรลุนิติภาวะ(ไม่รวมบุตรบุญธรรม) 

rn

5.บุตรไร้เสมือนไร้ความสามารถ 

rn

rn

รายการและอัตราการเบิกจ่าย
 

rn

rn

ค่ารักษาพยาบาล เงินที่สถานพยาบาลเรียกเก็บในการรักษาพยาบาล 

rn

rn

การรักษาพยาบาล การรักษาคนที่รู้สึกไม่สบายเพราะความเจ็บไข้ความเจ็บป่วยความบกพร่องหรือผิดปกติทางใจ

rn

rn

รายการและอัตรา 

rn

    rn

  1.  ค่ายา
  2. rn

rn

หลักเกณฑ์ 

rn

มีคุณสมบัติในการรักษาโรค 

rn

ไม่เสริมสวย ไม่ป้องกัน 

rn

อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ 

rn

ยานอกบัญชีหลักแห่งชาติ (เบิกได้หากคณะกรรมการการแพทย์ของสถานพยาบาลออก 

rn

หนังสือรับรอง) 

rn

ข้อยกเว้น 

rn

ยามะเร็ง 6 ชนิด 

rn

ยากลุ่มรูมาติก และสะเก็ดเงิน 

rn

ยาสมุนไพร และยาแผนไทย 

rn

วิตามิน และแร่ธาตุ 

rn

ยาควบคุม 9 กลุ่ม 

rn

*** ถ้าจำเป็นต้องใช้ยาในกลุ่มข้อยกเว้นต้องให้แพทย์ออกใบรับรองการใช้ยาจึงจะทำการเบิกได้ 

rn

rn

2. อุปกรณ์และอวัยวะเทียม  

rn

ใบเสร็จค่ารักษาพยาบาลจะต้องลงรหัส (ทุกรายการจะมีรหัสกำกับอวัยวะ) 

rn

rn

3.  ค่าบริการ ตรวจ วิเคราะห์โรค 

rn

ใบเสร็จค่ารักษาพยาบาลจะต้องลงรหัส (ทุกรายการจะมีรหัสกำกับ) ยกเว้น ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์โรค  

rn

หัตถการในห้องผ่าตัด กายภาพเวชฟื้นฟู ค่าบริการ ค่าตรวจวิเคราะห์ (16 หมวด) ต้องลงรหัส (เบิกตามอัตราที่กำหนด) 

rn

การเบิกค่าวัสดุสิ้นเปลืองที่เป็นวัสดุทางการแพทย์ 

rn

–  ผู้ป่วยใน 

rn

–  ผู้ป่วยนอก

rn

 

rn

4.  ค่าห้องและค่าอาหาร

rn

ผู้ป่วยนอก=เตียงสังเกตอาการ (100บาท/วัน)

rn

ผู้ป่วยใน =เตียงสามัญ (300บาท/วัน) ห้องพิเศษ (600บาท/วัน) และถ้ามีการพักเกิน 13 วัน ต้องมีความเห็นของแพทย์

rn

รับรองว่าให้นอนรักษาตัวต่อก็จะได้ตามปกติ *หมายเหตุ ทั้งนี้ราคาทั้งหมดได้รวมค่าอาหารแล้ว

rn

rn

5.  ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพ (ค่ากายภาพ)

rn

rn

6.  ค่าใช่จ่ายอื่นๆ

rn

rn

rn

ค่าตรวจสุขภาพประจำปีเบิกจ่ายได้เฉพาะพนักงาน 

rn

การตรวจสุขภาพประจำปี ให้พบแพทย์เพื่อให้คำปรึกษาก่อนทุกครั้ง และให้เบิกจ่ายค่าตรวจสุขภาพประจำปี ดังนี้

rn

 

rn

1.  การตรวจสำหรับผู้มีอายุไม่เกิน 35 ปี บริบูรณ์ 

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

ลำดับ 

rn

rn

รายการ 

rn

rn

ราคา (บาท) 

rn

rn

1.1

rn

rn

Chest X-ray

rn

–  Film Chest (รหัส41001)

rn

rn

170.-

rn

rn

rn

rn

–  Mass Chest (รหัส41301)

rn

rn

50.-

rn

rn

1.2

rn

rn

Urine Examination/Abalysis (รหัส31001)

rn

rn

50.-

rn

rn

1.3

rn

rn

Stool Examination-Routine direct smera (รหัส31201)

rn

รวมกับ Occult blood (รหัส31203)

rn

rn

70.-

rn

rn

1.4

rn

rn

Complete Blood Count : CBC แบบ Automation (รหัส30101)

rn

rn

90.-

rn

rn

1.5

rn

rn

ตรวจมะเร็งปากมดลูก 

rn

–  ตรวจภายใน (รหัส55620)

rn

rn

100.-

rn

rn

rn

rn

–  Pap Smear (รหัส38302)

rn

rn

100.-

rn

rn

rn

2.  การตรวจสำหรับผู้ที่มีอายุ 35 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป  

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

ลำดับ 

rn

rn

รายการ 

rn

rn

ราคา (บาท) 

rn

rn

2.1 

rn

rn

รายการตรวจสำหรับผู้ที่มีอายุไม่เกิน 35 ปีบริบูรณ์  รายการที่ 1.1  -1.5

rn

rn

ตามอัตราที่กำหนด

rn

rn

2.2

rn

rn

Blood Chemistry

rn

rn

rn

rn

rn

rn

–  Glucose (รหัส 32203)

rn

rn

40.-

rn

rn

rn

rn

–  Cholesterol (รหัส 32501)

rn

rn

60.-

rn

rn

rn

rn

–  Triglyceride (รหัส 32502)

rn

rn

60.-

rn

rn

rn

rn

–  Blood Urea Nitrogen : BUN (รหัส 32201)

rn

rn

50.-

rn

rn

rn

rn

–  Creatinine (รหัส 32202)

rn

rn

50.-

rn

rn

rn

rn

–  SGPT (ALT) (รหัส 32309)

rn

rn

50.-

rn

rn

rn

rn

–  S SGPT (ALT) (รหัส 32311)

rn

rn

50.-

rn

rn

rn

rn

–  Alkaline Phosphatase (รหัส 32309)

rn

rn

50.-

rn

rn

rn

rn

–  Uric Acid (รหัส 32205)

rn

rn

60.-

rn

rn

**หมายเหตุ เบิกค่าตรวจสุขภาพได้ปีละ 1 ครั้ง (ตามปีงบประมาณ) 

rn

rn

rn

rn

rn

ประเภทของสถานพยาบาลที่นำบิลมาเบิกกับสำนักงานได้ ดังนี้

rn

1.  โรงพยาบาลของรัฐ สิทธิที่ได้ คือ 

rn

–  ผู้ป่วยใน (นอนพักรักษาอยู่ที่โรงพยาบาล)

rn

– ผู้ป่วยนอก (รักษาภายใน 1 วันแล้วกลับบ้าน) 

rn

รายการอัตราค่าบริการสาธารณสุขเพื่อใช้สำหรับการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาล 

rn

ในสถานพยาบาลของราชการ 

rn

rn

ค่าห้องและค่าอาหาร หมายถึง ค่าห้องหรือค่าเตียงสามัญรวมอาหาร สำหรับผู้ป่วยขณะที่พักรักษา 

rn

ในสถานพยาบาล 

rn

ค่าอาหาร หมายถึง 

rn

1.  อาหารปกติ 

rn

2.  อาหารทางสายยาง (อาหารเหลวที่ให้ผู้ป่วยผ่านทางสายยาง) 

rn

3.  อาหารทางการแพทย์ที่ให้ทางปากหรือสายยาง (อาหารที่ขึ้นทะเบียนกับ อ.ย. เป็นอาหารทางการแพทย์ 

rn

ทั้งนี้ อาหารเสริมที่ให้ทางเส้นเลือด จัดอยู่ในหมวดค่ายาและสารอาหารทางเส้นเลือด 

rn

ค่าห้อง I.C.U. เบิกได้ในอัตราค่าห้องและค่าอาหาร โดยอนุโลมวันละ 300 – 600 บาท ตามลักษณะของเตียงและพื้นที่ (เตียงรวม หรือห้องแยก) และต้องไม่คิดค่าห้องพิเศษ

rn

ค่าใช้อุปกรณ์ในห้อง I.C.U
. จัดอยู่ในหมวดค่าอุปกรณ์ของใช้และเครื่องมือทางการแพทย์กรณีเด็กแรกเกิดป่วยให้คิดค่าใช้จ่ายแยกต่างหากจากแม่ หากเด็กแรกเกิดไม่ป่วยให้คิดค่าใช้จ่ายรวมกับแม่

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

rn

ลำดับ 

rn

rn

รายการ 

rn

rn

หน่วย 

rn

rn

ราคา 

rn

rn

หมายเหตุ 

rn

rn

รหัสรายการ 

rn

rn

1.1

rn

rn

เตียงสามัญ

rn

rn

วัน

rn

rn

300

rn

rn

เบิกได้รวมกับค่าอาหารในราคาไม่เกิน 300 บาท ตามระเบียบกระทรวงการคลัง

rn

rn

21101

rn

rn

1.2

rn

rn

ห้องพิเศษ 

rn

rn

วัน 

rn

rn

600 

rn

rn

เบิกได้ร่วมกับค่าอาหารในราคาไม่เกิน 600 บาท ตามระเบียบกระทรวงการคลัง 

rn

rn

21201 

rn

rn

1.3

rn

rn

rn

เตียงสังเกตอาการ /  

rn

Ambulatory, one day treatment(รวมค่าการพยาบาล)

rn

rn

rn

rn

100 

rn

rn

สำหรับผู้ป่วยนอก ที่มาให้ยาเคมีบำบัด หัตถการที่ไม่จำเป็นต้องนอนโรงพยาบาล แต่ต้องสังเกตอาการตั้งแต่ 2 ชั่วโมงขึ้นไป 

rn

-ไม่รวมถึงการฟอกเลือดด้วยวิธีไตเทียม

rn

rn

21301 

rn

rn

2.  โรงพยาบาลเอกชน สิทธิที่ได้มีเงื่อนไขการเบิก คือ 

rn

–    จะต้องประสบอุบัติเหตุ อุบัติภัยจำเป็นเร่งด่วนหากมิได้รักษาทันทีอาจเป็นอันตรายต่อชีวิตได้ 

rn

–    ค่าห้องและค่าอาหาร 600 บาท / วัน 

rn

ค่าอุปกรณ์และอวัยวะเทียม (ตามกระทรวงการคลัง) 

rn

ค่ารักษาพยาบาล (ครั้งหนึ่งไม่เกิน 3,000 –  4,000 บาท)

rn

**หมายเหตุ ถ้ารักษากับโรงพยาบาลเอกชนต้องเป็นผู้ป่วยในเท่านั้น (คือพักรักษาในโรงพยาบาลเกินกว่า 8 ชม. ขึ้นไป) และจะต้องให้แพทย์รับรองว่าถ้าไม่ได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วนอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ 

rn

rn

กรณีถูกจำกัดสิทธิ (2 สิทธิ) 

rn


ในกรณีผู้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกานี้หรือบุคคลในครอบครัวของพนักงานผู้มีสิทธินั้น หรือได้รับเงินค่ารักษาพยาบาลจากหน่วยงานอื่นแล้ว ผู้นั้นไม่มีสิทธิ์ได้รับเงินสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลตามพระราชกฤษฎีกานี้ เว้นแต่ ค่ารักษาพยาบาลที่ได้รับนั้นต่ำกว่าเงินสวัสดิการเกี่ยวกับค่ารักษาพยาบาลเฉพาะส่วนที่ขาดอยู่ ก็ให้มีสิทธิได้รับเงินสวัสดิการ (สรุปมีสิทธิอื่น..ใช้สิทธิอื่นก่อน) ยกเว้น สิทธิอื่นที่ต่ำกว่า..เบิกได้เฉพาะส่วนที่ขาดจากสิทธิ

rn

 

rn

rn

ดาวน์โหลดไฟล์ pdf