ยุทธศาสตร์ที่หนึ่ง

  • ส่งเสริม สนับสนุน กระบวนการพัฒนา องค์กรเกษตรกรให้เข้มแข็ง และรวมกันเป็นเครือข่าย มี  4 กลยุทธ์ ได้แก่
    • ส่งเสริมและสนับสนุนการรวมกลุ่มของเกษตรกร 
    • ส่งเสริมและสนับสนุนการฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร 
    • พัฒนาความรู้ในด้านเกษตรกรรมให้แก่เกษตรกร
    • พัฒนาศักยภาพในการพึ่งพาตนเองและเกื้อกูลซึ่งกันและกันระหว่างเกษตรกร                                                                  

ยุทธศาสตร์ที่สอง

  • ส่งเสริม สนับสนุนการจัดการหนี้ของเกษตรกรในระดับองค์กร มี  3 กลยุทธ์  ได้แก่
    • แก้ไขปัญหาหนี้ปกติของเกษตรกร       
    • สนับสนุนการจัดการหนี้ของเกษตรกร  
    • ปรับปรุงแก้ไขระเบียบ ประกาศ หลักเกณฑ์ที่เป็นปัญหาและอุปสรรค์ต่อการจัดการหนี้
    • เสริมสร้างและพัฒนาบุคลากรทางด้านการจัดการหนี้

ยุทธศาสตร์ที่สาม

  • พัฒนาระบบการบริหารจัดการสำนักงานให้เป็นไปตามหลักธรรมาภิบาล มี  3 กลยุทธ์ ได้แก่
    • เพิ่มสมรรถนะการบริหารงานทรัพยากรมนุษย์   
    • ประชาสัมพันธ์หน่วยงานอย่างต่อเนื่อง
    • ปรับปรุงระเบียบให้สอดคล้องกับสถานการณ์ปัจจุบัน
    • เพิ่มประสิทธิภาพด้านการบริหารจัดการงบประมาณ

ยุทธศาสตร์ที่สี่

  • บริหารการตลาด มี  4 กลยุทธ์ ได้แก่
    • สร้างแบรนด์อิมเมจของสินค้าเกษตรกรสมาชิกกองทุนฯ
    • ส่งเสริมการผลิตสินค้าเกษตรกรสมาชิกกองทุนฯให้เป็นมาตรฐาน
    • ส่งเสริมช่องทางการจัดจำหน่ายสินค้าเกษตรกรสมาชิกกองทุนฯ
    • พัฒนาศักยภาพทางด้านการตลาดให้แก่บุคคลของกองทุนฯ

แผนยุทธศาสตร์สำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. 2563 – 2567

แผนยุทธศาสตร์สำนักงานกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร พ.ศ. 2559 – 2562